2. มิติสุขภาพ (จำนวน 80 เรื่อง)

  • การดูแลผู้สูงอายุ : โรงพยาบาลกรุงเทพ

    3 มี.ค. 2564 | 954

    มนุษย์มีการพัฒนาสมบูรณ์สูงสุดเมื่ออายุ 20 – 25 ปี จากนั้นประสิทธิภาพการทำงานของร่างกายและอวัยวะจะเริ่มถดถอยลง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อถึงวัยสูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และโรคต่าง ๆ ซึ่งพบได้บ่อยกว่าในวัยอื่น ๆ

    อ่านต่อ
  • ชุดความรู้การดูแลตนเองและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ “สุขภาพดี”

    3 มี.ค. 2564 | 1,151

    ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีประชากรวัยสูงอายุที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ประมาณร้อยละ 16 กล่าวคือ ในประชากรทุกๆ 100 คน จะมีประชากรวัยสูงอายุประมาณ 16 คน และในอนาคตจำนวนผู้สูงอายุมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

    อ่านต่อ
  • สังเกตได้อย่างไร ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้า

    3 มี.ค. 2564 | 3,231

      “ผู้สูงอายุ” กับ “ภาวะซึมเศร้า” ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่หลายคนมองข้าม เพราะอาการของโรคไม่ได้บ่งบอกถึงความเจ็บปวดทรมานทางด้านร่างกาย แต่ในทางกลับกันภาวะซึมเศร้าในผู้อายุเป็นภาวะที่ทำร้ายสุขภาพจิตใจ ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้แบบไม่สนใจ หรือไม่เข้าใจอาการของโรค สามารถ

    อ่านต่อ
  • ผู้สูงอายุกับปัญหาสุขภาพ

    3 มี.ค. 2564 | 8,310

    การเรียนรู้ถึงปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้สูงอายุรวมถึงวิธีป้องกันและดูแล จะช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตต่อไปได้อีกยาวนานด้วยสุขภาพที่ดีและมีชีวิตชีวา เมื่อวัยเพิ่มขึ้น การทำงานหรือโครงสร้างของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะย่อมเสื่อมถอยลงไป

    อ่านต่อ
  • แนวทางการดูแลสภาพจิตใจของผู้สูงอายุให้แจ่มใส ห่างไกลปัญหาสุขภาพจิต

    3 มี.ค. 2564 | 29,949

    วัยชราเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน ทั้งสภาพร่างกายที่เสื่อมถอยลงตามอายุที่มากขึ้น รวมถึงอารมณ์และจิตใจที่ไวต่อการกระตุ้นจากสิ่งเร้าทั้งภายนอกและภายในจนนำไปสู่ปัญหาด้านสุขภาพจิตและปัญหาเรื้อรังอื่นๆ ได้

    อ่านต่อ
  • ผู้สูงอายุกับเรื่องสุขภาพจิต

    3 มี.ค. 2564 | 6,520

    ผู้สูงอายุนับเป็นทรัพยากรบุคคลที่ทรงคุณค่า สมควรที่ลูกหลานให้ความใส่ใจทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจ ในฐานะที่ท่านได้สร้างคุณประโยชน์นานัปการทั้งแก่คนในครอบครัวและสังคม

    อ่านต่อ
  • คู่มือแนวทางการดูแลสังคมจิตใจผู้สูงอายุ

    3 มี.ค. 2564 | 1,407

    การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจน แบ่งได้3 ด้าน ได้แก่ การ เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ทางด้านสังคม และทางด้านจิตใจในที่นี้จะกล่าว เฉพาะ การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและจิตใจที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต สังเกตอาการง่ายๆ จากการดำเนินชีวิตประจำวันได้แก่ การกินผ

    อ่านต่อ
  • 5 คู่มือการดูแลผู้สูงวัย ที่ไม่ควรพลาด

    3 มี.ค. 2564 | 4,008

    จัดทำโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  

    อ่านต่อ
  • ดูแลผู้สูงอายุอย่างไรให้มีสุขภาพดี

    3 มี.ค. 2564 | 46,814

    การดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะถ้าผู้สูงอายุสุขภาพไม่แข็งแรง เจ็บป่วยบ่อย แน่นอนเราในฐานะลูกหลานคงไม่สบายใจ และคงเป็นกังวลอย่างมากกับอาการเหล่านั้นที่เกิดขึ้นกับท่านเราคงไม่อยากเห็นพ่อ แม่ พี่น้องเราไม่มีความสุขในบั้นปลายชีวิต เ

    อ่านต่อ
  • คู่มือการดูแลผู้สูงวัยเดินดีไม่มีล้ม

    3 มี.ค. 2564 | 999

    คู่มือป้องกันการล้มในผู้สูงวัยเล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อให้ ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) และ ผู้ดูแลผู้สูงวัยที่บ้านและชุมชน พร้อมทั้งให้ความรู้เบื้องต้น เรื่องการจัดการความเสี่ยงในการล้ม รวมถึงการออกกำลังกาย ที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาความส

    อ่านต่อ