เครื่องมือการเข้าถึง

  1. ภาษาไทย
  2. ภาษาอังกฤษ
  3. เพิ่มขนาดตัวอักษร
  4. ลดขนาดตัวอักษร
  5. ขนาดตัวอักษรปกติ
  6. ความคมชัดสูง
  7. ความคมชัดเชิงลบ
  8. ความคมชัดปกติ
  9. เปิดอ่านด้วยเสียง
  10. ปิดอ่านด้วยเสียง
  11. ผังเว็บไซต์
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies)

กรมกิจการผู้สูงอายุ ให้ความสำคัญต่อข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้โดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ แสดงว่าท่านยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์ และนโยบายสิทธิส่วนบุคคลของเรา

ดูรายละเอียด
  • 02-659-6811
  • [email protected]
  • ก-
  • ก
  • ก+
  • C
  • C
  • C
  • th
  • en
กรมกิจการผู้สูงอายุ
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับ ผส.
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ยุทธศาสตร์
    • ภารกิจหน้าที่
    • ตราสัญลักษณ์
    • ดอกไม้สัญลักษณ์
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงของกรมกิจการผู้สูงอายุ
    • ติดต่อเรา
  • หน่วยงานภายใน
    • สำนักงานเลขานุการกรม
    • กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
    • กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
      • กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดสงขลา
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดลำปาง
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบุรีรัมย์
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุขอนแก่น
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุภูเก็ต
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุวาสนะเวศม์
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์ (เชียงใหม่)
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง จังหวัดชลบุรี
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านทักษิณ จังหวัดยะลา
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดนครพนม
      • - ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแค
    • กองส่งเสริมศักยภาพผูัสูงอายุ
      • กองส่งเสริมศักยภาพผูัสูงอายุ
      • - ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมด้านผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี
    • กองบริหารกองทุนผู้สูงอายุ
    • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
    • กลุ่มตรวจสอบภายใน
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
    • รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • หนังสือเวียน
    • การบริหารทรัพยากรบุคคล
    • แนวทางการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์กรมกิจการผู้สูงอายุ
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมกิจการผู้สูงอายุ
    • ข่าวนวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุ
    • ธนาคารเวลา
    • ชวนคิด ชวนคุย
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • ข่าวสารของกรมกิจการผู้สูงอายุ
    • กิจกรรมหน่วยงานในสังกัด
    • ข่าวที่น่าสนใจ
  • การบริหารทรัพยากรบุคคล
    • งานวิเคราะห์ตำแหน่งและอัตรากำลัง
    • งานสรรหา บรรจุแต่งตั้ง และทดลองราชการ
    • งานประเมินบุคคลและเส้นทางความก้าวหน้า
    • งานเงินเดือน และค่าตอบแทน
    • งานสวัสดิการ บำเหน็จบำนาญ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์
    • งานพัฒนาบุคลากร ทุนรัฐบาล และการประเมินความพึงพอใจ
    • งานวินัย
    • งาน อ.ก.พ.กรม
    • ระบบทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ SEIS และ DPIS
    • พนักงานราชการและลูกจ้างประจำ
    • กลุ่มงานจริยธรรม
    • การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)
    • ประกาศ คำสั่ง หนังสือแจ้งเวียน
    • ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคหญิงชาย
    • องค์ความรู้และไฟล์นำเสนอ
  • กลุ่มตรวจสอบภายใน
    • ข่าวสาร/กิจกรรม
    • ความรู้ต่าง ๆ
    • เอกสารเผยแพร่
  • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
    • ตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการฯ
    • PMQA 4.0
    • รางวัลเลิศรัฐ
    • การจัดการความรู้และนวัตกรรม (KM)
    • การประเมินผลการควบคุมภายใน
    • นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
    • การถ่ายโอนภารกิจ
    • แผนบริหารความต่อเนื่องเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP)
    • คู่มือการปฏิบัติงาน (WORK MANUAL)
    • เอกสารเผยแพร่
    • การรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก (มาตรฐาน GECC)
  • นโยบาย กฎหมาย
    • นโยบายและแผน
    • กฏหมายและระเบียบ
    • สิทธิและสวัสดิการ
  • แผนและผล
    • แผนการดำเนินงาน
    • ผลการดำเนินงาน
    • แผนบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
    • ข้อมูลสถิติการให้บริการ
    • MOU ความร่วมมืองานด้านผู้สูงอายุ
  • คลังความรู้
    • สถิติผู้สูงอายุ
    • คลังปัญญา (KM DOP)
    • บทความ
    • ผลงานวิชาการ/วิจัย
    • เอกสารเผยแพร่/สื่อสิ่งพิมพ์
    • การบูรณาการ Platform Digital ภายใต้แผนบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
    • E-Library ห้องสมุดมีชีวิต
    • คู่มือการปฎิบัติงาน
    • คู่มือประชาชน
    • รายงานการบริหารทรัพยากรบุคคล
    • ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
    • เทคโนโลยีสารสนเทศ
    • สื่อมัลติมีเดีย
  • บริการ
    • สถิติผู้รับบริการ ณ จุดให้บริการ (Walk in)
    • ดาวน์โหลดเอกสาร/แบบฟอร์ม
    • ถามตอบ (Q&A)
    • คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
    • ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
    • ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
    • เว็บลิงค์
    • ระบบกระจายข่าว (RSS)
    • ค้นหา
  • หน้าแรก
  • บริการ
  • ถามตอบ (Q&A)
  • ผู้สูงอายุติดเตียงไม่สามารถเซ็นเปลี่ยนบัตรATM ได้ สามารถทำอย่างไรแทนได้บ้าง
ผู้สูงอายุติดเตียงไม่สามารถเซ็นเปลี่ยนบัตรATM ได้ สามารถทำอย่างไรแทนได้บ้าง

โดย :
วันที่ : 3 มกราคม 2563 | 79,265 ครั้ง

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่สาขาธนาคารที่ท่านมีบัญชีได้เลย

โดย : ผู้ดูแลเว็บไซต์ กรมกิจการผู้สูงอายุ
วันที่ : 10 ม.ค. 2563 เวลา 16:38

ติดต่อไปแล้วคะ เขาแจ้งว่าต้องมีคำสั่งศาล ไม่ทราบว่าต้องไปที่ศาลเลยหรอคะ มีระเบียบอะไรที่พอจะใช้ยื่นกับแบงค์ได้บ้างแทนคำสั่งศาล

โดย ทัศนียา
วันที่ : 15 ม.ค. 2563 เวลา 22:47

  • การเปลี่ยนบัตร ATM เป็นไปตามระเบียบของทางธนาคาร ซึ่งทั้งนี้โดยปกติหากเจ้าของบัญชีป่วยไม่สามารถดำเนินการติดต่อสาขาได้ คุณทัศนียาต้องติดต่อร้องต่อศาลให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถและขอให้ศาลแต่งตั้งเป็นผู้อนุบาล จัดการทรัพย์สินของผู้ป่วย แต่จะมีบางธนาคารที่เจ้าหน้าที่มาให้บริการถึงที่เลย
  • หรือหากท่านต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุสามารถแจ้งได้ที่เทศบาล หรือ อบต. ที่ท่านมีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้าน

โดย : ผู้ดูแลเว็บไซต์ กรมกิจการผู้สูงอายุ
วันที่ : 16 ม.ค. 2563 เวลา 12:21

ถ้าไปศาล เพื่อทำเรื่องบัตรatm ต้องเตรียมอะไรไปบ้างค่ะ

โดย ประไพภรณ์ เนตรประจักษ์
วันที่ : 10 มี.ค. 2564 เวลา 12:30

เดือนที่แล้วพาพ่อพิการไปเปิดบัญชีพร้อมAtM แต่พนักงานก็็ทำการเปิดบัญชีให้  แต่ไม่ยอมทำบัตรATMให้  บอกให้แม่ไปฟ้องศาล ก่อน ค่อยมาทำ  ที่อยากทำATMเพราะที่บ้านกับธนาคารห่างกัน70โลมันไกลไปมาลำบาก  ขอคำอธิบายหน่อยคะ

 

 

โดย Saimai Antaket
วันที่ : 19 พ.ค. 2564 เวลา 20:40

โดย มีผู่ป่วยติดเตียงแต่ต้องทำบัตร ATM
วันที่ : 13 ส.ค. 2564 เวลา 22:12

อาผมเป็นผู้ป่วยติดเตียงพูดคุยไม่ได้แต่พอเงินเยียวยาเข้าเบิกไมได้จะทำไงดีครับatm เข้าก็ไม่มีครับ

โดย ทศพร อยู่สถิตย์
วันที่ : 6 ก.ย. 2564 เวลา 15:47

Atmแม่ใส่รหัสผิดต้องไปติดต่อธนาคาร แม่เป็นคนพิการเดินไม่สะดวกน้องไปแทน เขาไม่ทำให้ว่าบัตรประชาชนแม่หม🙂ายุต้องให้แม่ไปทำบัตรประชาชนใหม่ก่อน แต่แม่เดินลำบากไปไม่ไหวต้องทำยังไงครับ

โดย นายศักดิรันต์ จันทร์เทพย์
วันที่ : 20 ก.ย. 2564 เวลา 20:30

บัตรatmแม่กดระหัสผิดเขาให้ไปติดต่อแลดล๊อคที่สาขาไหนก๊ได้แต่แม่ป่วยนอนติดเตียงต้องทำอย่างไงคะ

โดย ลลิลฎา อุดม
วันที่ : 17 ต.ค. 2564 เวลา 08:47

ผู้ป่วยอยู่ห้อง ICU มีค่ารักษาพยาบาลที่เบิกกับส่วนราชการไม่ได้ จะทำอย่างไรให้นำเงินในธนาคารของผู้ป่วยมาจ่ายให้โรงพยาบาล

โดย วราลักษณ์ ดุรงค์กาญจน์
วันที่ : 10 พ.ย. 2564 เวลา 13:27

น่าจะมีการอำนวยความสะดวกในการทำบัตรATMให้กับผู้สูอายุและคนพิการบ้างนะไม่ใช่เอ๋ะอะก็ให้ไปที่ธนาคารทั้งที่ก็รู้ว่าเขาพิการเดินไม่ได้แค่ขี้เยี่ยวก็ยังลำบากเลย

โดย บุญเกิด แจ้งหิรัญ
วันที่ : 12 พ.ย. 2564 เวลา 14:30

โดย สุกัญญา
วันที่ : 17 ธ.ค. 2564 เวลา 07:42

แม่พิการบัตรโดนอายัดต้องทำอย้างรัย

โดย ธนิศา นุชประโคน
วันที่ : 11 ก.พ. 2565 เวลา 11:49

กรณีคนชราเดินไม่ได้ ATM หม🙂ายุเราสามารถขอใบมอบอำนาจไปทำบัตร ATM แทนได้ไหม?

โดย เล็ก
วันที่ : 16 เม.ย. 2565 เวลา 20:01

ธนาคารธกส. ธนาคารกรุงไทย หรือธนาคารอื่นๆ ที่ร่วมโครงการของรัฐควรมีแนวทางรองรับลูกค้ากลุ่มคนพิการ คนสูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้บ้างนะคะ เพราะคนเหล่านี้เขาเดือดร้อนมากๆ เขาไม่สามารถไปติดต่อธนาคารได้จริงๆ เช่น หากมีบัตรผู้พิการไปแสดง ธนาคารควรอนุโลมให้มอบอำนาจ หรือจักเจ้าหน้าที่มาบริการถึงบ้าน ไม่ควรให้ลูกค้าพาคนพิการวิ่งไปหาธนาคารเอง มันลำบากมากเลยนะคะ

โดย สุกัญญา
วันที่ : 17 พ.ค. 2565 เวลา 15:38

แม่มีบัตรคนพิการอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้สติปัญญาไม่ดีไปไหนไม่ถูก ตอนทำบัตรคนจนได้มอบอำนาจให้ดิฉันซึ่งเป็นลูกสาวทำแทนตอนนี้รหัสบัตรถูกลอ็กต้องทำไงคะ

โดย จิราวัลย์ วันที่30มิ.ย 65
วันที่ : 30 มิ.ย. 2565 เวลา 19:20

จริงๆ ถ้าธนาคารควรหาสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ คนสูงอายุ ให้ญาติเค้าสามารถไปทำธุรกรรมแทนได้ หรือหาวิธีอะไรก็ได้ที่มันง่ายกว่าการไปที่ธนาคารเอง หรือ ต้องไปเดินเรื่องผู้อนุบาลที่ศาลก็ต้องใช้เวลา ยุ่งยากอีก การจะตรวจสอบบุคคลว่ามีความเกี่ยวข้องยังไงกับผู้ป่วยไม่ใช่เรื่องยากเลยนะ

โดย เบื่อ
วันที่ : 26 ธ.ค. 2565 เวลา 13:47

กรณีบัตรเอทีเอ็มกดไม่ได้​ ใก้ติดต่อทางธนาคาร​ เจ้าของบัญชีไปไม่ได้​ ต้องมอบอำนาจยังไงค่ะ

โดย ปาริชาติอาดำ
วันที่ : 27 ก.พ. 2566 เวลา 09:09

เวบของกรมกิจการผู้สูงอายุเขามีใว้เพื่ออะไรครับ ไม่เห็นเขาเข้ามาตอบหรือช่วยเหลืออะไรใครได้เลย

โดย ทวี อภิรดีสิริพิบูลย์
วันที่ : 27 ก.พ. 2566 เวลา 21:50

เอะอะ ให้ไปศาล ถ้าเป็นผู้พิการแต่สมองเค้าไม่พิการ ควรมีวิธีที่สะดวกทำได้ แต่ไม่ทำ

โดย นฤมล
วันที่ : 4 มี.ค. 2566 เวลา 12:45

ตามีเงินคนแก่เข้าธนาคารออมสิน ตอนนี้แกเป็นเส้นเลือดตีบ แขนขวาขยับไม่ได้ แกไม่สามารถเซ็นได้ จะทำบัตรเอทีเอ็มได้ยังไงคะ พาไปที่ธนาคารแล้ว เขาทำให้ไม่ได้ อำราะแกเซ็นไม่ได้

โดย ประกายฟ้า หญ้ากลาง
วันที่ : 20 มี.ค. 2566 เวลา 13:58

สรุปว่า กรมกิจการผู้สูงอายุมีไว้ทำไมคะ ถามจริงๆ คนที่เขาถามมาเพราะมีปัญหาเรื่องความไม่สะกวก นี่ก็จะโยนกลับธนาคารตลอด หน้าที่ของคุณคือ ปรับปรุงระเบียบหรืออะไรก็ตามให้ผู้ดูแลเขาสะดวกขึ้น ไม่ต้องพาผู้สูงอายุมาธนาคารทั้งเตียง มันดูอนาถาไปปะคะ

โดย มีนา
วันที่ : 26 ก.ย. 2566 เวลา 15:29

อยากถามเหมือนกันคะแม่สามีป่วยเดินใม่ใด้มอบฉันทะให้หนูไปเอาแต่ธนาคารใม่ให้เขาบอกลายเซ็นใม่เหมือนเดิมเขาบอกให้พาแม่ไปคนนำ้หนัก130ก.ก จะพาไปยังใงคะนอกจากไปรถกู้ภัยลำบากมากคะ

โดย น.ส วรรณภา หนูชื่น
วันที่ : 10 ต.ค. 2566 เวลา 17:58

ทำไมกรมฯ ไม่หารือกับธนาคารของรัฐ หน่วยงานรัฐเหมือนกัน ทำไมไม่เป็นตัวแทนของคนชรา คนพิการที่มีปัญหาที่ไม่สามารถไปทำธุรกรรมที่ธนาคารเองได้ ควรจะมีทางออกโดยให้สามารถมอบอำนาจให้คนในครอบครัว ที่ระบุความสัมพันธ์ได้ และมีพยานที่รับรองว่ามาตรวจสอบที่บ้านแล้วว่ามีคนชราติดเตียงจริง อาจจะเป็นผู้ใหญ่บ้านหรืออะไร ก็กำหนดมา ให้เป็นระเบียบให้ธนาคารรัฐทุกแห่งยึดเป็นแนวปฏิบัติ ไม่ใช่ต้องให้เป็นข่าวออกสื่อ แล้วค่อยถือกระเช้ามาขอโทษ แล้วถึงจะแก้ไขระเบียบ

โดย เสาวลักษณ์ ภุ่จันทร์
วันที่ : 16 ต.ค. 2566 เวลา 12:00

สอบถามหน่อยค่ะ พอดีวันนี้พายายาไปธนาคารธกส.มาอยากทราบว่าคนชราที่มองไม่เห็น เดินเหินก็ลำบาก ปั้มลายนิ้วมือได้อย่างเดียวไม่สามารถเปิด ATM ได้หรอค่ะ ยังงี้ถ้าต่อไปยายป่วยติดเตียงก็จะต้องแบกยายมาทำธุรกรรมที่ธนาคารหรอค่ะ

โดย วราภรณ์ อินทจร
วันที่ : 31 ต.ค. 2566 เวลา 16:14

พ่อตำรวจรับบำนาญ เส้นเลือดตีบพูดไม่ได้เซ็นไม่ได้ เบิกธนาคารก็ไม่ได้ ทำอน่างไรได้บ้างค่ะ ติดต่อทีากรมตำรวจส่วนไหนได้บ้างค่ะ

โดย จุรีพร อินทรสืบวงค์
วันที่ : 13 พ.ค. 2567 เวลา 18:50

เห็นด้วยกับทุกข้อความนะคะเพราะที่บ้านพ่อติดเตียงแถมอัลไซเมอร์ด้วย พี่ไปกดเอทีเอ็มผิดต้องให้พ่อำปทำเอง เข้าใจระบบราชการหรือองค์กรนะคะ แต่ถ้ามีข้อปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานรองรับออกมา จนท.คงมีวิธีการช่วยเหลือที่ง่ายขึ้น เอะอะจะให้ไปฟ้องศาลมันคงไม่สะดวกทุกกรณี ฝากนะคะข้าราชการบำนาญที่อายุยืนที่ป่วยวอนผู้มีอำนาจได้ดูแลด้วยจะเป็นบุญมหาศาล เพราะมีกรณีเช่นนี้มากมายมากค่ะ

โดย นิธิดา เบ้าศรี 15 มิ.ย. 67
วันที่ : 15 มิ.ย. 2567 เวลา 16:26

แม่ผมป่วยติดเตียงบัตรเอทีเอ็มหม🙂ายุ กดเงินไม่ได้ทางธนาคารออมสินไม่ได้ ต้องทำยังไงได้บ้าง ธนาคารให้ไปร้องศาลตั้งเป็นผู้อนุบาล ผมไม่รู้ขั้นตอนและต้องเตรียมอะไรบ้าง

โดย วุฒิ วรพิชัย
วันที่ : 30 มิ.ย. 2567 เวลา 18:13

เหมือนทำเว๊ปให้คนมีปัญหามาระบาย ไม่มีแต่พวกหลบปัญหาประชาชน พยายามมีแต่จะปัดไปให้ไกลตัวทั้งนั้นยังไงๆก็มีเงินเดือจากประชาชนกิน

โดย Phatcharapol
วันที่ : 12 ม.ค. 2568 เวลา 13:36

พ่อสามีเป็นผู้ป่วยติดเตียงแล้วพ่อทำสมุดบัญชีธนาคาร. ธกส.หายทำยังไงได้บ้างค่ะ

โดย สุวดี ถิ่นนัยธร
วันที่ : 14 ม.ค. 2568 เวลา 22:12

ห้าม! ระบุเลขบัตรประจำตัวประชาชน เลขประจำตัวผู้เสียภาษี เบอร์โทรศัพท์ เลขที่บัญชีธนาคาร หรือข้อมูลอื่นใดที่สามารถระบุข้อมูลตัวบุคคล

คำเตือน เพื่อป้องกันมิจฉาชีพและเป็นไปตามกฎหมาย พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 และ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562
  1. ห้ามใช้ข้อความอันเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ สถาบันพระมหากษัตริย์ และราชวงศ์
  2. ห้ามใช้ข้อความ คำหยาบคาย ลามก อนาจาร ทะลึ่ง เกินที่สุภาพชนทั่วไปจะรับได้ (ถ้าข้อคิดเห็นของท่านมีเหตุผล น่าสนใจ แต่มีบางคำไม่เหมาะสมแฝงอยู่ ก็จะโดนลบทิ้ง)
  3. ห้ามใช้ข้อความ ที่มีเจตนา ใส่ร้าย-ใส่ความ บุคคลอื่น อย่างชัดแจ้ง และ ไร้เหตุผลรองรับ
  4. ห้ามใช้ข้อความ ท้าทาย ชักชวน โดยมีเจตนาก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท หรือความวุ่นวายขึ้น
  5. ห้ามใช้ข้อความกล่าวโจมตี หรือวิพากษ์วิจารณ์ในทางเสียหายต่อ ศาสนา หรือคำสอนต่างๆ
  6. ห้ามใช้ชื่อ / นามแฝงอันเป็นชื่อจริงของผู้อื่น โดยมีเจตนาทำให้สาธารณะชนเข้าใจผิด และเจ้าของชื่อผู้นั้นได้รับความเสียหาย หรือเสื่อมเสียชื่อเสียง
  7. ห้ามใช้ข้อความที่พิมพ์ ข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น เช่น ชื่อจริง เบอร์โทร อีเมล์หรือเบอร์โทรศัพท์ โดยมีเจตนากลั่นแกล้ง ให้เกิดความเสียหาย
  8. ห้ามใช้ข้อความโฆษณาชวนเชื่อทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็น โฆษณาเว็บ, สินค้า, บริการ, กลวิธีการหารายได้ทั้งหลาย
  9. ระบบจะเก็บข้อมูล IP Address ของท่านเพื่อระบุตัวตน เมื่อท่านป้อนข้อมูลเข้าสู่เว็บไซต์นี้แล้วแสดงว่าท่านให้ความยินยอมนโยบายสิทธิส่วนบุคคลของเรา
ข้อมูลติดต่อหน่วยงาน

กรมกิจการผู้สูงอายุ

ที่อยู่ อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ชั้น 6 เลขที่ 1034 ถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100

ช่องทางการติดต่อ ผส.
หมายเลขโทรศัพท์ 02-659-6811
อีเมล์ [email protected]

สายด่วน : 02-659-6811
กรมกิจการผู้สูงอายุ
เมนู
  1. หน้าแรก
  2. เกี่ยวกับ ผส.
  3. หน่วยงานภายใน
  4. ข่าวประชาสัมพันธ์
  5. การบริหารทรัพยากรบุคคล
  6. นโยบาย กฎหมาย
  7. แผนและผล
  8. คลังความรู้
  9. บริการ
นโยบาย
  1. นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
    1. - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  2. นโยบายความมั่นคงปลอดภัย
  3. นโยบายคุกกี้
  4. นโยบายธรรมาภิบาลข้อมูล และแนวปฏิบัติของกรมกิจการผู้สูงอายุ
  5. นโยบายเว็บไซต์
  6. ประกาศข้อปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ พ.ศ.2567 กรมกิจการผู้สูงอายุ
  7. ประกาศนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กรมกิจการผู้สูงอายุ พ.ศ.2567

© สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์โดย กรมกิจการผู้สูงอายุ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ วันนี้ : 3,836 เดือนนี้ : 128,291 ปีนี้ : 1,128,737

(รองรับการสนับสนุน Internet Explorer 9.0 ขึ้นไป หรือ Google chrome 80.0 ขึ้นไป)

Download PDF viewer
Valid HTML5 Valid HTML 4.01! Valid CSS! [Valid RSS]
Icons : Designed by Freepik